สัปดาห์ ที่ |
หัวข้อ/รายละเอียด |
|
1
|
-แนะนำรายวิชา วิธีการเรียน และการประเมินผล |
|
2 |
การใช้สถิติกับการตัดสินใจทางธุรกิจโดยการวิเคราะห์เชิงปริมาณ - ความหมายของสถิติ - การเก็บรวบรวมข้อมูล - ประเภทของข้อมูล - การนำเสนอข้อมูล |
|
3 |
การใช้สถิติกับการตัดสินใจทางธุรกิจโดยการวิเคราะห์เชิงปริมาณ - ตัวแปรสุ่ม - การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น - การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง |
|
4
|
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น - การจัดตำแหน่งของข้อมูล - การวัดการกระจาย -ค่าพิสัย -ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ -ค่าแปรปรวน -ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน -ค่าสัมประสิทธิ์ความผันแปร
|
|
5 |
การสุ่มตัวอย่างและการประมาณค่า - ประชากรและตัวอย่าง - วิธีการสุ่มตัวอย่าง - การประมาณค่า |
|
6 |
การวิเคราะห์ความแปรปรวน ความถดถอย และสหสัมพันธ์ - การวิเคราะห์ความแปรปรวน - การวิเคราะห์เชิงปริมาณ |
|
7 |
การวิเคราะห์ความแปรปรวน ความถดถอย และสหสัมพันธ์ - การหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร - วิธีกำลังสองน้อยที่สุด |
|
8 |
สอบระหว่างภาค |
|
9 |
การวิเคราะห์อนุกรมเวลาและเลขดัชนี - ความหมายของอนุกรมเวลา -การวิเคราะห์อนุกรมเวลา - ส่วนประกอบของอนุกรมเวลา -การผันแปรตามแนวโน้มระยะยาว -การผันแปรตามฤดูกาล -การผันแปรตามวัฎจักร |
|
10 |
การวิเคราะห์อนุกรมเวลาและเลขดัชนี - เลขดัชนี |
|
11 |
โปรแกรมเชิงเส้น - ปัญหาโปรแกรมเชิงเส้น - ขั้นตอนการตัดสินใจ -การสร้างตัวแบบปัญหา - การแก้ปัญหา
|
|
12 |
โปรแกรมเชิงเส้น - วิธีใช้กราฟเพื่อหาคำตอบกรณีมีเป้าหมาย คือ ค่าสูงสุด - วิธีใช้กราฟเพื่อหาคำตอบกรณีมีเป้าหมาย คือ ค่าต่ำสุด
|
|
13 |
ความน่าจะเป็นแผนภูมิเพื่อการตัดสินใจ - สัญลักษณ์ที่ใช้ในแขนงการตัดสินใจ - กระบวนการของแขนงการตัดสินใจ - วิธีการสร้างแขนงการตัดสินใจ |
|
14 |
ความน่าจะเป็นแผนภูมิเพื่อการตัดสินใจ - ค่าคาดคะเนทางการเงิน -ตัวอย่าง
|
|
15
|
เทคนิคการประเมินผลและตรวจสอบโครงการ - วัตถุประสงค์ของเพอร์ท และซีพีเอ็ม -ความแตกต่างของเพอร์ท และซีพีเอ็ม - การสร้างข่ายงาน - การคำนวณหาเส้นทางวิกฤต - การคำนวณหากิจกรรมวิกฤต
|
|
16 |
เทคนิคการประเมินผลและตรวจสอบโครงการ - การคาดคะเนเวลาของกิจกรรม
|
|
17 |
สอบปลายภาค |
|
- อาจารย์: Nsru15 Nsru15
- อาจารย์: นายชยันต์ นันทวงศ์
- อาจารย์: นางพัชราภา สิงห์ธนสาร
- อาจารย์: ภูริพัศ เหมือนทอง
- อาจารย์: นายดนุวัศ อิสรานนทกุล